Makita PF400MP Instruction Manual page 79

Pump attachment
Hide thumbs Also See for PF400MP:
Table of Contents

Advertisement

Available languages
  • EN

Available languages

  • ENGLISH, page 1
21. ห้ า มพยายามใช้ ง านเครื ่ อ งด้ ว ยมื อ ข้ า งเดี ย ว การสู ญ
เสี ย การควบคุ ม อาจส่ ง ผลให้ ไ ด้ ร ั บ บาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ
บาดเจ็ บ จนถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต ได้ เพื ่ อ ลดความเสี ่ ย งจากการ
บาดเจ็ บ ให้ ด ู แ ลให้ ม ื อ และเท้ า ของคุ ณ อยู ่ ห ่ า งจาก
แปรงหรื อ ทุ ่ น กวาด
22. ปฏิ บ ั ต ิ ต ามคู ่ ม ื อ การใช้ ง านของชุ ด ต้ น ก� า ลั ง เพื ่ อ การใช้
งานที ่ เ หมาะสม
23. ดู ว ิ ธ ี ก ารสตาร์ ท และควบคุ ม เครื ่ อ งได้ ท ี ่ ค ู ่ ม ื อ การใช้ ง าน
ชุ ด ต้ น ก� า ลั ง
24. ในระหว่ า งการท� า งาน ให้ จ ั บ เครื ่ อ งมื อ ไว้ ด ้ ว ยมื อ ทั ้ ง
สองข้ า งเสมอ ห้ า มจั บ เครื ่ อ งมื อ ด้ ว ยมื อ ข้ า งเดี ย วใน
ระหว่ า งการใช้ ง าน
25. อย่ า ใช้ ง านเครื ่ อ งมื อ ในสภาพอากาศที ่ เ ลวร้ า ย หรื อ มี
ความเสี ่ ย งที ่ จ ะเกิ ด ฟ้ า ผ่ า
26. ก่ อ นใช้ ง าน ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า สายสะพายไหล่ ถ ู ก
ติ ด ตั ้ ง เข้ า กั บ เครื ่ อ งมื อ อย่ า งเหมาะสมแล้ ว
27. อย่ า จุ ่ ม เครื ่ อ งมื อ ลงในน� ้ า หรื อ วางเครื ่ อ งมื อ บนพื ้ น ผิ ว ที ่
เปี ย ก
28. อย่ า วางเครื ่ อ งมื อ ทิ ้ ง ไว้ น อกอาคารกลางฝน
29. ระหว่ า งท� า งานหรื อ ขณะย้ า ยต� า แหน่ ง การท� า งาน ระวั ง
อย่ า งสะดุ ด สายยางหรื อ ท่ อ ที ่ เ ท้ า ของคุ ณ
30. เมื ่ อ คุ ณ ใช้ เ ครื ่ อ งบนพื ้ น โคลน พื ้ น ลาดที ่ เ ปี ย ก หรื อ
บริ เ วณที ่ ล ื ่ น โปรดระมั ด ระวั ง การทรงตั ว
การขนย้ า ย
1. ปิ ด เครื ่ อ งมื อ ระหว่ า งท� า การเคลื ่ อ นย้ า ย ไม่ เ ช่ น นั ้ น การ
เริ ่ ม ท� า งานโดยไม่ ไ ด้ ต ั ้ ง ใจอาจท� า ให้ ไ ด้ ร ั บ บาดเจ็ บ ได้
แรงสั ่ น สะเทื อ น
1. การรั บ แรงสั ่ น สะเทื อ นมากเกิ น ไปอาจท� า ให้ เ ส้ น เลื อ ด
หรื อ ระบบประสาทของผู ้ ใ ช้ ง านได้ ร ั บ บาดเจ็ บ และท� า ให้
เกิ ด อาการดั ง ต่ อ ไปนี ้ ก ั บ นิ ้ ว มื อ มื อ หรื อ ข้ อ มื อ : "การ
เผลอหลั บ " (อาการชา) เจ็ บ เหมื อ นโดนหนามแทง
เจ็ บ ปวด ความรู ้ ส ึ ก เหมื อ นโดนแทง สี ผ ิ ว หรื อ ผิ ว หนั ง
เปลี ่ ย นแปลงไป หากมี อ าการใดๆ ดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ ้ น ให้
ไปพบแพทย์
การลดความเสี ่ ย งของ "โรคนิ ้ ว มื อ ซี ด ขาว" ให้ ร ั ก ษา
มื อ ให้ อ ุ ่ น ระหว่ า งการท� า งานและบ� า รุ ง รั ก ษาเครื ่ อ งและ
อุ ป กรณ์ เ สริ ม ต่ า งๆ ให้ ด ี
การบ� า รุ ง รั ก ษาและการเก็ บ รั ก ษา
1. ตรวจดู น ็ อ ต สลั ก เกลี ย ว และสกรู ท ั ้ ง หมดให้ แ น่ น เพื ่ อ
ให้ แ น่ ใ จว่ า เครื ่ อ งอยู ่ ใ นสภาพการท� า งานที ่ ป ลอดภั ย
2. หากชิ ้ น ส่ ว นสึ ก หรอหรื อ ช� า รุ ด ให้ เ ปลี ่ ย นชิ ้ น ส่ ว นด้ ว ยชิ ้ น
ส่ ว นที ่ ก � า หนดโดย Makita
3. เก็ บ เครื ่ อ งมื อ ในที ่ ท ี ่ แ ห้ ง และพ้ น จากมื อ เด็ ก
4. เมื ่ อ คุ ณ หยุ ด เครื ่ อ งมื อ เพื ่ อ ท� า การตรวจสอบ ซ่ อ มบ� า รุ ง
หรื อ จั ด เก็ บ ให้ ป ิ ด เครื ่ อ งและตรวจดู ใ ห้ แ น่ ใ จว่ า ชิ ้ น ส่ ว น
ที ่ เ คลื ่ อ นไหวได้ ห ยุ ด สนิ ท แล้ ว และถอดตลั บ แบตเตอรี ่
ออก
5. ก� า จั ด ฝุ ่ น และสิ ่ ง สกปรกออกจากอุ ป กรณ์ เ สมอ ห้ า ม
ใช้ แ ก๊ ส โซลี น เบนซิ น ทิ น เนอร์ แอลกอฮอล์ หรื อ สิ ่ ง
อื ่ น ๆ ที ่ ค ล้ า ยกั น นี ้ ใ นการท� า ความสะอาด เนื ่ อ งจากอาจ
เกิ ด การเปลี ่ ย นสี เปลี ่ ย นรู ป หรื อ รอยร้ า วบนชิ ้ น ส่ ว น
พลาสติ ก
6. อย่ า พยายามบ� า รุ ง รั ก ษาหรื อ ซ่ อ มแซมใดๆ ที ่ ไ ม่ ไ ด้ ร ะบุ
ไว้ ใ นหนั ง สื อ หรื อ คู ่ ม ื อ การใช้ ง านชุ ด ต้ น ก� า ลั ง สอบถาม
ศู น ย์ บ ริ ก ารที ่ ไ ด้ ร ั บ การรั บ รองของเราให้ ท � า งานดั ง
กล่ า วให้
7. ปฏิ บ ั ต ิ ต ามค� า แนะน� า ในการหล่ อ ลื ่ น และการเปลี ่ ย น
อุ ป กรณ์ เ สริ ม
8. ใช้ อ ะไหล่ แ ละอุ ป กรณ์ เ สริ ม ของแท้ เ ท่ า นั ้ น เสมอ การ
ใช้ อ ะไหล่ ห รื อ อุ ป กรณ์ เ สริ ม ของผู ้ อ ื ่ น อาจส่ ง ผลให้
อุ ป กรณ์ ช � า รุ ด ทรั พ ย์ ส ิ น เสี ย หาย และ/หรื อ ท� า ให้ ไ ด้ ร ั บ
บาดเจ็ บ สาหั ส ได้
9. ให้ ศ ู น ย์ บ ริ ก ารที ่ ไ ด้ ร ั บ การรั บ รองเป็ น ผู ้ ต รวจสอบและ
บ� า รุ ง รั ก ษาเครื ่ อ งตามระยะเวลาเป็ น ประจ� า
10. ท� า ความสะอาดและบ� า รุ ง รั ก ษาเครื ่ อ งก่ อ นท� า การจั ด
เก็ บ ถอดตลั บ แบตเตอรี ่
11. อย่ า เอาอุ ป กรณ์ ไ ปค� ้ า กั บ สิ ่ ง อื ่ น เช่ น ก� า แพง ไม่ เ ช่ น
นั ้ น อุ ป กรณ์ อ าจร่ ว งหล่ น ลงมาทั น ที แ ละท� า ให้ ไ ด้ ร ั บ บาด
เจ็ บ ได้
การใช้ ง านและดู แ ลเครื ่ อ งมื อ ที ่ ใ ช้ แ บตเตอรี ่
1. ชาร์ จ ไฟใหม่ ด ้ ว ยเครื ่ อ งชาร์ จ ที ่ ร ะบุ โ ดยผู ้ ผ ลิ ต เท่ า นั ้ น
เครื ่ อ งชาร์ จ ที ่ เ หมาะส� า หรั บ ชุ ด แบตเตอรี ่ ป ระเภทหนึ ่ ง
อาจเสี ่ ย งที ่ จ ะเกิ ด ไฟไหม้ ห ากน� า ไปใช้ ก ั บ ชุ ด แบตเตอรี ่
อี ก ประเภทหนึ ่ ง
2. ใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ไฟฟ้ า กั บ ชุ ด แบตเตอรี ่ ท ี ่ ก � า หนดมาโดย
เฉพาะเท่ า นั ้ น การใช้ ช ุ ด แบตเตอรี ่ ป ระเภทอื ่ น อาจ
ท� า ให้ เ สี ่ ย งที ่ จ ะได้ ร ั บ บาดเจ็ บ และเกิ ด ไฟไหม้
3. เมื ่ อ ไม่ ใ ช้ ง านชุ ด แบตเตอรี ่ ให้ เ ก็ บ ห่ า งจากวั ต ถุ ท ี ่ เ ป็ น
โลหะอื ่ น ๆ เช่ น คลิ ป หนี บ กระดาษ เหรี ย ญ กุ ญ แจ
กรรไกรตั ด เล็ บ สกรู หรื อ วั ต ถุ ท ี ่ เ ป็ น โลหะขนาดเล็ ก
อื ่ น ๆ ที ่ ส ามารถเชื ่ อ มต่ อ ขั ้ ว หนึ ่ ง กั บ อี ก ขั ้ ว หนึ ่ ง ได้ การ
ลั ด วงจรขั ้ ว แบตเตอรี ่ อ าจท� า ให้ ร ้ อ นจั ด หรื อ เกิ ด ไฟไหม้
ภาษาไทย
79

Advertisement

Table of Contents
loading

Table of Contents