ข้ อ ควรระวั ง ด้ า นความปลอดภั ย; วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารใช้ ง าน; ข้ อ ควรระวั ง ทั ่ ว ไป; อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น - Makita EA3200S Instruction Manual

Hide thumbs Also See for EA3200S:
Table of Contents

Advertisement

Available languages

Available languages

3. ข้ อ ควรระวั ง ด้ า นความปลอดภั ย
3-1. วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารใช้ ง าน
เครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น ไฟฟ้ า
เครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น ไฟฟ้ า นี ้ ส ามารถใช้ ส ำหรั บ การตั ด ไม้ ก ลางแจ้ ง
เท่ า นั ้ น และผลิ ต ขึ ้ น มาเพื ่ อ ใช้ ง านตามกลุ ่ ม ของเครื ่ อ งมื อ ต่ อ ไปนี ้ :
- กลุ ่ ม มื อ อาชี พ และระดั บ กลาง: ใช้ ก ั บ ต้ น ไม้ ข นาดเล็ ก กลาง และใหญ่ :
การโค่ น ต้ น ไม้ การถอนต้ น ไม้ การตั ด ตามแนวยาว การตั ด สางขยายระยะ
- กลุ ่ ม งานอดิ เ รก: การใช้ ก ั บ ต้ น ไม้ ข นาดเล็ ก ในบางครั ้ ง คราว การดู แ ล
ไม้ ผ ล การโค่ น ต้ น ไม้ การถอนต้ น ไม้ การตั ด ตามแนวยาว
ผู ้ ใ ช้ ท ี ่ ไ ม่ ไ ด้ ร ั บ อนุ ญ าต:
ห้ า มมิ ใ ห้ ผ ู ้ ท ี ่ ไ ม่ ค ุ ้ น เคยกั บ คู ่ ม ื อ ใช้ ง าน เด็ ก ผู ้ เ ยาว์ และผู ้ ท ี ่ อ ยู ่ ใ นสภาพมึ น เมา
จากสารเสพติ ด แอลกอฮอล์ หรื อ การใช้ ย าใช้ เ ครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น นี ้
3-2. ข้ อ ควรระวั ง ทั ่ ว ไป
‑ เพื ่ อ ให้ ป ฏิ บ ั ต ิ ง านได้ ถ ู ก ต้ อ ง ผู ้ ใ ช้ ต ้ อ งอ่ า นคู ่ ม ื อ ใช้ ง านนี ้ (ภาพที ่ 2)
เพื ่ อ ให้ ร ู ้ จ ั ก คุ ณ ลั ก ษณะต่ า งๆ ของเครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น ผู ้ ใ ช้ ท ี ่
ได้ ร ั บ ข้ อ มู ล ไม่ เ พี ย งพออาจทำให้ เ กิ ด อั น ตรายต่ อ ตนเองและผู ้ อ ื ่ น
เนื ่ อ งจากการใช้ ง านไม่ ถ ู ก ต้ อ ง
‑ ขอแนะนำให้ ม อบเครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น นี ้ ใ ห้ เ ฉพาะกั บ ผู ้ ท ี ่ ม ี
ประสบการณ์ ใ นการใช้ เ ครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น เท่ า นั ้ น รวมถึ ง
มอบคู ่ ม ื อ ใช้ ง านนี ้ ใ ห้ ด ้ ว ยเสมอ
‑ ผู ้ ใ ช้ ร ายแรกควรสอบถามตั ว แทนจำหน่ า ยเกี ่ ย วกั บ คำแนะนำเบื ้ อ งต้ น
เพื ่ อ ให้ ม ี ค วามคุ ้ น เคยในการใช้ ง านเครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง ไฟฟ้ า หรื อ เข้ า ฝึ ก
อบรมในหลั ก สู ต รการใช้ ง านที ่ ผ ่ า นการรั บ รอง
‑ ไม่ อ นุ ญ าตให้ เ ด็ ก และผู ้ ท ี ่ ม ี อ ายุ ต ่ ำ กว่ า 18 ปี ใ ช้ ง านเครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง
แบบใช้ น ้ ำ มั น นี ้ อย่ า งไรก็ ต าม ผู ้ ท ี ่ ม ี อ ายุ ม ากกว่ า 16 ปี สามารถฝึ ก ใช้
เครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น นี ้ ไ ด้ โดยต้ อ งอยู ่ ภ ายใต้ ก ารกำกั บ ดู แ ล
ของผู ้ ฝ ึ ก สอนที ่ ม ี ป ระสบการณ์
‑ ใช้ เ ครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น นี ้ ด ้ ว ยความระมั ด ระวั ง สู ง สุ ด เสมอ
‑ ใช้ เ ครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น นี ้ เ มื ่ อ คุ ณ มี ส ภาพร่ า งกายที ่ ส มบู ร ณ์
เท่ า นั ้ น หากคุ ณ รู ้ ส ึ ก เหนื ่ อ ยล้ า ความระมั ด ระวั ง ของคุ ณ อาจลดลง
โปรดระมั ด ระวั ง เป็ น พิ เ ศษในช่ ว งสิ ้ น สุ ด วั น ทำงาน ควรปฏิ บ ั ต ิ ง านทั ้ ง หมด
อย่ า งใจเย็ น และระมั ด ระวั ง ผู ้ ใ ช้ ต ้ อ งรั บ ผิ ด ชอบความผิ ด ที ่ ม ี ต ่ อ บุ ค คลอื ่ น
‑ อย่ า ใช้ เ ครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น หลั ง จากการดื ่ ม แอลกอฮอล์
การใช้ ส ารเสพติ ด หรื อ การใช้ ย า (ภาพที ่ 3)
‑ ต้ อ งเตรี ย มเครื ่ อ งดั บ เพลิ ง ให้ พ ร้ อ มเสมอในบริ เ วณใกล้ เ คี ย งเมื ่ อ ทำงานกั บ
พื ช ที ่ ต ิ ด ไฟง่ า ย หรื อ เมื ่ อ ไม่ ม ี ฝ นตกเป็ น เวลานาน (อั น ตรายจากไฟไหม้ )
3-3. อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น (ภาพที ่ 4 & 5)
‑ เพื ่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ศ ี ร ษะ ดวงตา มื อ หรื อ เท้ า ได้ ร ั บ บาดเจ็ บ และ
ป้ อ งกั น การได้ ย ิ น ผู ้ ใ ช้ ต ้ อ งสวมใส่ อ ุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น ระหว่ า ง
การใช้ ง านเครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น :
‑ เสื ้ อ ผ้ า ที ่ ส วมใส่ ต ้ อ งมี ค วามเหมาะสม เช่ น ควรมี ข นาดพอดี โ ดยไม่ เ ป็ น
อุ ป สรรคต่ อ การทำงาน อย่ า สวมเครื ่ อ งประดั บ หรื อ เสื ้ อ ผ้ า ที ่ อ าจพั น กั บ
พุ ่ ม ไม้ ห รื อ ยอดไม้ หากคุ ณ มี ผ มยาว ให้ ส วมใส่ ห มวกครอบผมเสมอ
‑ การใส่ ห มวกนิ ร ภั ย เป็ น เรื ่ อ งจำเป็ น เมื ่ อ ทำงานกั บ เครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบ
ใช้ น ้ ำ มั น ต้ อ งมี ก ารตรวจสอบ หมวกนิ ร ภั ย (1) อย่ า งสม่ ำ เสมอว่ า มี
ความเสี ย หายหรื อ ไม่ และต้ อ งเปลี ่ ย นหลั ง จากใช้ ง านไม่ เ กิ น 5 ปี
ใช้ ห มวกนิ ร ภั ย ที ่ ไ ด้ ร ั บ การอนุ ม ั ต ิ เ ท่ า นั ้ น
36
‑ หน้ า กาก (2) ของหมวกนิ ร ภั ย (หรื อ แว่ น กั น ฝุ ่ น ) จะช่ ว ยป้ อ งกั น ขี ้ เ ลื ่ อ ย
และเศษไม้ ระหว่ า งการใช้ ง านเครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น โปรดสวมใส่
แว่ น กั น ฝุ ่ น หรื อ หน้ า กากเพื ่ อ ป้ อ งกั น การบาดเจ็ บ ของดวงตาทุ ก ครั ้ ง
‑ สวมใส่ อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น เสี ย งรบกวน อย่ า งเหมาะสม (ที ่ ค รอบหู
ลดเสี ย ง (3) ที ่ อ ุ ด หู ฯลฯ) วิ เ คราะห์ ค วามถี ่ เ สี ย งตามที ่ ร ้ อ งขอ
‑ เสื ้ อ แจ็ ค เก็ ต นิ ร ภั ย (4) จะมี แ ถบสี ส ั ญ ลั ก ษณ์ พ ิ เ ศษติ ด บนบ่ า รวมถึ ง
สวมใส่ แ ละดู แ ลรั ก ษาได้ ง ่ า ย
‑ กางเกงขายาวชุ ด หมี ท ี ่ ม ี เ อี ๊ ย มและสายโยง (5) ทำจากเส้ น ใยไนลอน
22 ชั ้ น เพื ่ อ ป้ อ งกั น ของมี ค มบาด เราขอแนะนำให้ ค ุ ณ สวมใส่ ข ณะทำงาน
‑ ถุ ง มื อ หนั ง (6) ที ่ ท ำจากหนั ง ชนิ ด หนาจั ด เป็ น ส่ ว นหนึ ่ ง ของอุ ป กรณ์ ท ี ่
กำหนดและต้ อ งสวมใส่ ท ุ ก ครั ้ ง ที ่ ใ ช้ ง านเครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น
‑ ระหว่ า งการใช้ ง านเครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น ต้ อ งสวมใส่ รองเท้ า
นิ ร ภั ย หรื อ รองเท้ า บู ๊ ต (7) ที ่ ม ี พ ื ้ น กั น ลื ่ น หั ว เหล็ ก และที ่ ป ้ อ งกั น ขา
ทุ ก ครั ้ ง รองเท้ า นิ ร ภั ย จะมี ช ั ้ น ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ถ ู ก บาดและทำให้ ก ารวางเท้ า
มี ค วามมั ่ น คง
3-4. น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง / การเติ ม น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง
‑ ดั บ เครื ่ อ งยนต์ ก ่ อ นเติ ม เชื ้ อ เพลิ ง เครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น
‑ อย่ า สู บ บุ ห รี ่ ห รื อ ทำงานใกล้ เ ปลวไฟ (ภาพที ่ 6)
‑ ทิ ้ ง ให้ เ ครื ่ อ งยนต์ เ ย็ น ลงก่ อ นเติ ม น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง
‑ น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง อาจมี ส ารลั ก ษณะเดี ย วกั บ ตั ว ทำละลาย ไม่ ค วรให้ ด วงตา
และผิ ว หนั ง สั ม ผั ส กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท ี ่ ท ำจากน้ ำ มั น แร่ สวมใส่ ถ ุ ง มื อ นิ ร ภั ย
เมื ่ อ เติ ม เชื ้ อ เพลิ ง ทุ ก ครั ้ ง ทำความสะอาดและเปลี ่ ย นเสื ้ อ นิ ร ภั ย อย่ า ง
สม่ ำ เสมอ อย่ า หายใจเอาไอระเหยของน้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง การสู ด ดม
ไอระเหยของน้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง อาจเป็ น อั น ตรายต่ อ สุ ข ภาพของคุ ณ
‑ อย่ า ทำน้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง หรื อ น้ ำ มั น โซ่ ห กรด เมื ่ อ คุ ณ ทำน้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง
หรื อ น้ ำ มั น โซ่ ห กรด ให้ ท ำความสะอาดเครื ่ อ งตั ด แต่ ง กิ ่ ง แบบใช้ น ้ ำ มั น ทั น ที
ไม่ ค วรปล่ อ ยให้ น ้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง ถู ก เสื ้ อ ผ้ า หากเสื ้ อ ผ้ า ของคุ ณ ถู ก น้ ำ มั น
เชื ้ อ เพลิ ง ให้ เ ปลี ่ ย นทั น ที
‑ ตรวจสอบว่ า ไม่ ม ี น ้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง หรื อ น้ ำ มั น โซ่ ไ หลซึ ม ลงดิ น (การป้ อ งกั น
สภาพแวดล้ อ ม) ให้ ใ ช้ ฐ านรองที ่ เ หมาะสม
‑ อย่ า เติ ม น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง ในห้ อ งที ่ ป ิ ด ทึ บ เพราะไอระเหยของน้ ำ มั น
เชื ้ อ เพลิ ง จะสะสมอยู ่ บ ริ เ วณพื ้ น (อั น ตรายจากการระเบิ ด )
‑ ตรวจสอบว่ า ได้ ห มุ น ฝาปิ ด ถั ง น้ ำ มั น เครื ่ อ งและน้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง อย่ า ง
แน่ น หนา
‑ เปลี ่ ย นสถานที ่ ก ่ อ นเริ ่ ม สตาร์ ท เครื ่ อ งยนต์ (ห่ า งอย่ า งน้ อ ย 3 ม. จาก
สถานที ่ เ ติ ม น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง ) (ภาพที ่ 7)
‑ ไม่ ค วรจั ด เก็ บ น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง อย่ า งไม่ ม ี ก ำหนด ควรซื ้ อ เก็ บ ไว้ ใ ห้ ม ากพอ
ที ่ จ ะใช้ ใ นอนาคตอั ั น ใกล้ เ ท่ า นั ้ น
‑ ใช้ เ ฉพาะภาชนะจั ด เก็ บ ที ่ ม ี เ ครื ่ อ งหมายและได้ ร ั บ อนุ ญ าตสำหรั บ
การขนย้ า ยและจั ด เก็ บ น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง หรื อ น้ ำ มั น โซ่ อย่ า จั ด เก็ บ
น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง หรื อ น้ ำ มั น โซ่ ไ ว้ ใ กล้ ม ื อ เด็ ก
3-5. การนำมาใช้ ง าน
‑ อย่ า ทำงานเพี ย งคนเดี ย ว ต้ อ งมี ค นอยู ่ ใ กล้ ๆ ในกรณี ฉ ุ ก เฉิ น
(ภายในระยะที ่ ไ ด้ ย ิ น เสี ย งตะโกน)
‑ ตรวจสอบไม่ ใ ห้ ม ี เ ด็ ก หรื อ บุ ค คลอื ่ น ๆ อยู ่ ใ นพื ้ น ที ่ ก ารทำงาน และ
ระมั ด ระวั ง สั ต ว์ ต ่ า งๆ ในพื ้ น ที ่ ท ำงาน (ภาพที ่ 8)

Advertisement

Chapters

Table of Contents
loading

This manual is also suitable for:

Ea3201sEa3202sEa3203s

Table of Contents