Makita DUB363 Instruction Manual page 48

Cordless blower
Hide thumbs Also See for DUB363:
Table of Contents

Advertisement

Available languages
  • EN

Available languages

  • ENGLISH, page 1
21. ขณะที ่ ใ ช้ ง านเครื ่ อ งเป่ า ลมร่ ว มกั บ อะแดปเตอร์
แบตเตอรี ่ ท ี ่ ต ิ ด ตั ้ ง ไว้ ก ั บ สายสะพายไหล่ อย่ า ใช้ ง าน
เครื ่ อ งโดยที ่ ส ายสะพายไหล่ ต ิ ด อยู ่ ก ั บ เครื ่ อ ง
22. ขณะที ่ ค ุ ณ ก� า ลั ง ประกอบถุ ง ดั ก ฝุ ่ น เข้ า ไปเพื ่ อ ท� า การดู ด
อย่ า ใช้ เ ครื ่ อ งมื อ นี ้ ร ่ ว มกั บ อะแดปเตอร์ แ บตเตอรี ่ ท ี ่ ต ิ ด
ตั ้ ง ไว้ ก ั บ สายสะพายไหล่
การบ� า รุ ง รั ก ษาและการเก็ บ รั ก ษา
1. ตรวจสอบว่ า น็ อ ต สลั ก เกลี ย ว และสกรู ท ั ้ ง หมดขั น
แน่ น อยู ่ ห รื อ ไม่ เพื ่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า เครื ่ อ งมื อ อยู ่ ใ นสภาพที ่
ปลอดภั ย ส� า หรั บ การท� า งาน
2. หากชิ ้ น ส่ ว นสึ ก หรอหรื อ ช� า รุ ด ให้ เ ปลี ่ ย นชิ ้ น ส่ ว นด้ ว ยชิ ้ น
ส่ ว นที ่ ก � า หนดโดย Makita
3. จั ด เก็ บ เครื ่ อ งมื อ ในที ่ ท ี ่ แ ห้ ง ห่ า งจากมื อ เด็ ก
4. เมื ่ อ คุ ณ หยุ ด เครื ่ อ งมื อ เพื ่ อ ท� า การตรวจสอบ ซ่ อ มบ� า รุ ง
จั ด เก็ บ หรื อ เปลี ่ ย นอุ ป กรณ์ เ สริ ม ให้ ป ิ ด สวิ ต ช์ เ ครื ่ อ ง
มื อ และตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า ชิ ้ น ส่ ว นที ่ เ คลื ่ อ นไหว
ทั ้ ง หมดหยุ ด สนิ ท และถอดตลั บ แบตเตอรี ่ อ อก รอ
ให้ เ ครื ่ อ งมื อ เย็ น ลงก่ อ นที ่ จ ะท� า งานใดๆ กั บ เครื ่ อ งมื อ
ดู แ ลเครื ่ อ งมื อ ด้ ว ยความระมั ด ระวั ง และโปรดรั ก ษา
ความสะอาด
5. ทิ ้ ง ให้ เ ครื ่ อ งมื อ เย็ น ลงก่ อ นการจั ด เก็ บ เสมอ
6. อย่ า ให้ เ ครื ่ อ งมื อ โดนฝน เก็ บ เครื ่ อ งมื อ ในที ่ ร ่ ม
7. เมื ่ อ คุ ณ ยกเครื ่ อ งมื อ โปรดแน่ ใ จว่ า ได้ ง อเข่ า และระวั ง
อย่ า ให้ ห ลั ง บาดเจ็ บ
การใช้ ง านและดู แ ลเครื ่ อ งมื อ ที ่ ใ ช้ แ บตเตอรี ่
1. ชาร์ จ ไฟใหม่ ด ้ ว ยเครื ่ อ งชาร์ จ ที ่ ร ะบุ โ ดยผู ้ ผ ลิ ต เท่ า นั ้ น
เครื ่ อ งชาร์ จ ที ่ เ หมาะส� า หรั บ ชุ ด แบตเตอรี ่ ป ระเภทหนึ ่ ง
อาจเสี ่ ย งที ่ จ ะเกิ ด ไฟไหม้ ห ากน� า ไปใช้ ก ั บ ชุ ด แบตเตอรี ่
อี ก ประเภทหนึ ่ ง
2. ใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ไฟฟ้ า กั บ ชุ ด แบตเตอรี ่ ท ี ่ ก � า หนดมาโดย
เฉพาะเท่ า นั ้ น การใช้ ช ุ ด แบตเตอรี ่ ป ระเภทอื ่ น อาจ
ท� า ให้ เ สี ่ ย งที ่ จ ะได้ ร ั บ บาดเจ็ บ และเกิ ด ไฟไหม้
3. เมื ่ อ ไม่ ใ ช้ ง านชุ ด แบตเตอรี ่ ให้ เ ก็ บ ห่ า งจากวั ต ถุ ท ี ่ เ ป็ น
โลหะอื ่ น ๆ เช่ น คลิ ป หนี บ กระดาษ เหรี ย ญ กุ ญ แจ
กรรไกรตั ด เล็ บ สกรู หรื อ วั ต ถุ ท ี ่ เ ป็ น โลหะขนาดเล็ ก
อื ่ น ๆ ที ่ ส ามารถเชื ่ อ มต่ อ ขั ้ ว หนึ ่ ง กั บ อี ก ขั ้ ว หนึ ่ ง ได้ การ
ลั ด วงจรขั ้ ว แบตเตอรี ่ อ าจท� า ให้ ร ้ อ นจั ด หรื อ เกิ ด ไฟไหม้
4. ในกรณี ท ี ่ ใ ช้ ง านไม่ ถ ู ก ต้ อ ง อาจมี ข องเหลวไหลออก
จากแบตเตอรี ่ ให้ ห ลี ก เลี ่ ย งการสั ม ผั ส หากสั ม ผั ส
โดนของเหลวโดยไม่ ต ั ้ ง ใจ ให้ ล ้ า งออกด้ ว ยน� ้ า หาก
ของเหลวกระเด็ น เข้ า ตา ให้ ร ี บ ไปพบแพทย์ ของเหลว
ที ่ ไ หลออกจากแบตเตอรี ่ อ าจท� า ให้ ผ ิ ว หนั ง ระคายเคื อ ง
หรื อ ไหม้
5. ห้ า มใช้ ช ุ ด แบตเตอรี ่ ห รื อ เครื ่ อ งมื อ ที ่ ช � า รุ ด หรื อ มี ก าร
แก้ ไ ข แบตเตอรี ่ ท ี ่ เ สี ย หายหรื อ มี ก ารแก้ ไ ขอาจท� า ให้
เกิ ด สิ ่ ง ที ่ ค าดไม่ ถ ึ ง ได้ เช่ น ไฟไหม้ ระเบิ ด หรื อ เสี ่ ย ง
ต่ อ การบาดเจ็ บ
6. ห้ า มให้ ช ุ ด แบตเตอรี ่ อ ยู ่ ใ กล้ ไ ฟ หรื อ บริ เ วณที ่ ม ี อ ุ ณ หภู ม ิ
สู ง เกิ น หากโดนไฟ หรื อ อุ ณ หภู ม ิ ส ู ง เกิ น 130
ก่ อ ให้ เ กิ ด การระเบิ ด ได้
7. กรุ ณ าปฏิ บ ั ต ิ ต ามค� า แนะน� า ส� า หรั บ การชาร์ จ ไฟ และ
ห้ า มชาร์ จ แบตเตอรี ่ ห รื อ เครื ่ อ งมื อ ในบริ เ วณที ่ ม ี
อุ ณ หภู ม ิ น อกเหนื อ ไปจากที ่ ร ะบุ ใ นค� า แนะน� า การชาร์ จ
ไฟที ่ ไ ม่ เ หมาะสม หรื อ อุ ณ หภู ม ิ น อกเหนื อ ไปจากช่ ว ง
อุ ณ หภู ม ิ ท ี ่ ร ะบุ ใ นค� า แนะน� า อาจท� า ให้ แ บตเตอรี ่ เ สี ย หาย
และเป็ น การเพิ ่ ม ความเสี ่ ย งในการเกิ ด ไฟไหม้
ความปลอดภั ย ทางไฟฟ้ า และแบตเตอรี ่
1. อย่ า ก� า จั ด แบตเตอรี ่ ใ นไฟ แบตเตอรี ่ อ าจระเบิ ด ได้
ตรวจสอบรหั ส ท้ อ งถิ ่ น ส� า หรั บ ค� า แนะน� า เกี ่ ย วกั บ การ
ก� า จั ด ทิ ้ ง แบบพิ เ ศษ
2. อย่ า เปิ ด หรื อ ท� า ให้ แ บตเตอรี ่ เ สี ย หาย อิ เ ล็ ก โทรไลต์ ท ี ่
ถู ก ปล่ อ ยออกมามี ค ุ ณ สมบั ต ิ ก ั ด กร่ อ น และอาจท� า ลาย
ดวงตาหรื อ ผิ ว หนั ง ได้ อาจเป็ น พิ ษ หากกลื น กิ น เข้ า ไป
3. อย่ า ชาร์ จ แบตเตอรี ่ ก ลางฝนหรื อ ในสถานที ่ ท ี ่ เ ปี ย ก
4. ห้ า มชาร์ จ ไฟนอกบ้ า น หรื อ กลางแจ้ ง
5. ห้ า มจั บ อุ ป กรณ์ ช าร์ จ รวมถึ ง ปลั ๊ ก เครื ่ อ งชาร์ จ และขั ้ ว
อุ ป กรณ์ ช าร์ จ ด้ ว ยมื อ ที ่ เ ปี ย ก
6. หลี ก เลี ่ ย งการใช้ ง านในสภาพแวดล้ อ มที ่ อ ั น ตราย ห้ า ม
ใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ในพื ้ น ที ่ เ ปี ย กชื ้ น หรื อ โดนเม็ ด ฝน น� ้ า ที ่
เข้ า ไปในเครื ่ อ งมื อ จะเพิ ่ ม ความเสี ่ ย งในการเกิ ด ไฟฟ้ า
ช็ อ ต
การซ่ อ มบ� า รุ ง
1. น� า เครื ่ อ งมื อ ไฟฟ้ า เข้ า รั บ บริ ก ารจากช่ า งซ่ อ มที ่ ผ ่ า น
การรั บ รองโดยใช้ อ ะไหล่ แ บบเดี ย วกั น เท่ า นั ้ น เพราะจะ
ท� า ให้ ก ารใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ไฟฟ้ า มี ค วามปลอดภั ย
2. ห้ า มใช้ ช ุ ด แบตเตอรี ่ ท ี ่ เ สี ย หาย ชุ ด แบตเตอรี ่ ท ี ่ ใ ช้ ค วร
เป็ น ชุ ด ที ่ ม าจากผู ้ ผ ลิ ต หรื อ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารที ่ ไ ด้ ร ั บ อนุ ญ าต
เท่ า นั ้ น
ปฏิ บ ั ต ิ ต ามค� า แนะน� า เหล่ า นี ้
ค� ำ เตื อ น:
อย่ า ให้ ค วามไม่ ร ะมั ด ระวั ง หรื อ ความคุ ้ น
เคยกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (จากการใช้ ง านซ� ้ า หลายครั ้ ง ) อยู ่ เ หนื อ
การปฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎเกณฑ์ ด ้ า นความปลอดภั ย ในการใช้ ง าน
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด
การใช้ ง านอย่ า งไม่ เ หมาะสมหรื อ การไม่ ป ฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎ
เกณฑ์ ด ้ า นความปลอดภั ย ในคู ่ ม ื อ การใช้ ง านนี ้ อ าจท� า ให้ ไ ด้
รั บ บาดเจ็ บ รุ น แรง
ภาษาไทย
48
°
C อาจ

Advertisement

Table of Contents
loading

Table of Contents