Download Print this page

Makita N9500N Instruction Manual page 23

Hide thumbs Also See for N9500N:

Advertisement

Available languages

Available languages

5. เส น ผ า ศู น ย ก ลางภายนอกและความหนาของอุ ป กรณ เ สริ ม ต อ ง
อยู  ภ ายในขนาดที ่ ก ํ า หนดของเครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า เพราะจะไม ส ามารถ
ป อ งกั น หรื อ ควบคุ ม อุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ม ี ข นาดไม ถ ู ก ต อ งได อ ย า งเหมาะสม
6. ขนาดรู ข องใบเจี ย ขอบ แผ น รอง หรื อ อุ ป กรณ เ สริ ม อื ่ น ๆ ต อ ง
พอดี ก ั บ เพลาหมุ น ของเครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า อุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ม ี ร ู ไ ม พ อดี
กั บ ตั ว ยึ ด ของเครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า จะทํ า งานอย า งไม ส มดุ ล สั ่ น สะเทื อ น
แรงเกิ น ไป และอาจทํ า ให ส ู ญ เสี ย การควบคุ ม ได
7. อย า ใช ง านอุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ช ํ า รุ ด เสี ย หาย ก อ นการใช ง านแต ล ะ
ครั ้ ง ให ต รวจสอบอุ ป กรณ เ สริ ม ต า งๆ เช น ใบเจี ย ว า มี ก าร
แตกหั ก และชํ า รุ ด เสี ย หายหรื อ ไม แผ น รองมี ก ารชํ า รุ ด ฉี ก ขาด
หรื อ สึ ก หรอเกิ น ไปหรื อ ไม และแปรงลวดว า ลวดหลวมหรื อ ชํ า รุ ด
เสี ย หายหรื อ ไม หากเครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า หรื อ อุ ป กรณ เ สริ ม ร ว งหล น
กั บ พื ้ น ให ต รวจสอบความชํ า รุ ด เสี ย หาย หรื อ ประกอบอุ ป กรณ
เสริ ม ที ่ ไ ม ไ ด ร ั บ ความเสี ย หาย
หลั ง จากการตรวจสอบและการประกอบอุ ป กรณ เ สริ ม คุ ณ และ
บุ ค คลรอบข า งควรอยู  ห  า งจากระยะของอุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ก ํ า ลั ง
หมุ น อยู  จากนั ้ น ให เ ป ด เครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า ด ว ยความเร็ ว สู ง สุ ด ขณะ
เดิ น เครื ่ อ งเปล า ประมาณหนึ ่ ง นาที โดยปกติ แ ล ว อุ ป กรณ เ สริ ม ที ่
ชํ า รุ ด เสี ย หายจะแตกหั ก ออกมาในช ว งเวลาของการทดสอบนี ้
8. สวมใส อ ุ ป กรณ ป  อ งกั น ส ว นบุ ค คล ใช ห น า กากป อ งกั น หน า
แว น ครอบตากั น ฝุ  น /ลม หรื อ แว น ตานิ ร ภั ย ตามลั ก ษณะการ
ใช ง าน ให ส วมหน า กากกั น ฝุ  น เครื ่ อ งป อ งกั น การได ย ิ น ถุ ง มื อ
และชุ ด ป อ งกั น ที ่ ส ามารถป อ งกั น เศษชิ ้ น งานหรื อ เศษผงจาก
การขั ด ถู ช ิ ้ น เล็ ก ๆ ตามความเหมาะสม ชุ ด ป อ งกั น สายตาต อ ง
สามารถป อ งกั น เศษชิ ้ น งานที ่ ป ลิ ว อยู  ใ นอากาศซึ ่ ง เกิ ด จากการทํ า งาน
ในรู ป แบบต า งๆ หน า กากกั น ฝุ  น หรื อ หน า กากป อ งกั น พิ ษ ต อ งสามารถ
กรองอนุ ภ าคเล็ ก ๆ ที ่ เ กิ ด จากการทํ า งานของคุ ณ การได ย ิ น เสี ย งรบกวน
ที ่ ม ี ค วามดั ง สู ง ติ ด ต อ กั น เป น เวลานานอาจทํ า ให ส ู ญ เสี ย การได ย ิ น
9. จั ด ให บ ุ ค คลรอบข า งอยู  ใ นระยะห า งที ่ ป ลอดภั ย จากพื ้ น ที ่
การทํ า งาน บุ ค คลที ่ เ ข า สู  พ ื ้ น ที ่ ก ารทํ า งานต อ งสวมใส ช ุ ด
อุ ป กรณ ป  อ งกั น เศษชิ ้ น งานหรื อ อุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ แ ตกหั ก อาจปลิ ว
กระเด็ น ออกมา และเป น สาเหตุ ใ ห ไ ด ร ั บ บาดเจ็ บ ได โ ดยตรงจากพื ้ น ที ่
การทํ า งาน
10. จั ด ตํ า แหน ง ให ส ายไฟอยู  ห  า งจากอุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ก ํ า ลั ง หมุ น อยู 
หากคุ ณ สู ญ เสี ย การควบคุ ม สายไฟอาจถู ก ตั ด หรื อ ถู ก เกี ่ ย วและทํ า ให
มื อ หรื อ แขนของคุ ณ ถู ก ดึ ง เข า ไปในอุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ก ํ า ลั ง หมุ น อยู 
11. อย า วางเครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า ลง จนกว า อุ ป กรณ เ สริ ม จะหยุ ด ทํ า งาน
จนสนิ ท อุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ก ํ า ลั ง หมุ น อยู  อ าจสั ม ผั ส ถู ก พื ้ น และดึ ง
เครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า จนหลุ ด จากการควบคุ ม ของคุ ณ
12. อย า เป ด สวิ ต ช เ ครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า ในขณะที ่ ก ํ า ลั ง ถื อ เครื ่ อ งหั น มา
ทางตั ว ของคุ ณ เอง การสั ม ผั ส กั บ อุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ก ํ า ลั ง หมุ น อยู  โ ดย
ไม ต ั ้ ง ใจอาจเกี ่ ย วเข า กั บ เสื ้ อ ผ า ของคุ ณ ซึ ่ ง จะดึ ง อุ ป กรณ เ สริ ม เข า หา
ตั ว คุ ณ ได
13. ให ท ํ า ความสะอาดช อ งระบายอากาศของเครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า อย า ง
สม่ ํ า เสมอ พั ด ลมของมอเตอร จ ะพั ด เศษฝุ  น ผงเข า ไปภายในเครื ่ อ ง
และการสะสมของเศษผงโลหะที ่ ม ากเกิ น ไปอาจทํ า ให เ กิ ด อั น ตราย
จากไฟฟ า ช็ อ ตได
14. อย า ใช เ ครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า ใกล ว ั ต ถุ ไ วไฟ ประกายไฟอาจทํ า ให ว ั ต ถุ
ดั ง กล า วลุ ก ไหม
15. อย า ใช อ ุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ต  อ งมี น ้ ํ า ยาหล อ เย็ น การใช น ้ ํ า หรื อ น้ ํ า ยา
หล อ เย็ น อื ่ น ๆ อาจทํ า ให ไ ด ร ั บ อั น ตรายจากไฟฟ า ดู ด หรื อ ไฟฟ า ช็ อ ต
การดี ด กลั บ และคํ า เตื อ นที ่ เ กี ่ ย วข อ ง
การดี ด กลั บ คื อ ปฏิ ก ิ ร ิ ย าสะท อ นกลั บ ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ทั น ที จ ากการกระทบหรื อ
การเกี ่ ย วกั บ ใบเจี ย แผ น รอง แปรง หรื อ อุ ป กรณ เ สริ ม อื ่ น ๆ การกระทบหรื อ
การเกี ่ ย วทํ า ให ท ํ า ให อ ุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ก ํ า ลั ง หมุ น อยู  ห ยุ ด ทํ า งานทั น ที ซึ ่ ง เป น
สาเหตุ ใ ห เ ครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า ที ่ ไ ม ส ามารถควบคุ ม ได ถ ู ก ผลั ก ให ไ ปอยู  ใ นทิ ศ ทาง
ตรงกั น ข า มกั บ การหมุ น ของอุ ป กรณ เ สริ ม ณ จุ ด ที ่ ม ี ก ารสั ม ผั ส
ตั ว อย า งเช น หากใบเจี ย เกี ่ ย วหรื อ กระทบกั บ ชิ ้ น งาน ขอบของใบเจี ย ในจุ ด
ที ่ ม ี ก ารกระทบจะกิ น ลึ ก เข า ไปในพื ้ น ผิ ว ของวั ส ดุ ซ ึ ่ ง จะเป น สาเหตุ ใ ห ใ บเจี ย
ป น ออกมาหรื อ ดี ด กลั บ ใบเจี ย อาจดี ด เข า หาหรื อ ออกจากผู  ใ ช ง าน ขึ ้ น อยู  ก ั บ
ทิ ศ ทางการเคลื ่ อ นที ่ ข องใบเจี ย ณ จุ ด ที ่ ม ี ก ารกระทบ และอาจทํ า ให ใ บเจี ย
ชํ า รุ ด แตกหั ก ในสภาพดั ง กล า ว
การดี ด กลั บ คื อ ผลจากการใช ง านเครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า ผิ ด วั ต ถุ ป ระสงค และ/หรื อ
ขั ้ น ตอนหรื อ สภาพการปฏิ บ ั ต ิ ง านไม ถ ู ก ต อ ง แต ส ามารถหลี ก เลี ่ ย งได ห ากใช
มาตรการป อ งกั น ที ่ เ หมาะสมต อ ไปนี ้
a) ถื อ มื อ จั บ ของเครื อ งมื อ ไฟฟ า อย า งมั ่ น คง และจั ด ตํ า แหน ง
ร า งกายและแขนของคุ ณ ให ส ามารถต า นทางแรงดี ด กลั บ ได
ใช ม ื อ จั บ เสริ ม เสมอ (ถ า มี ) เพื ่ อ ให ส ามารถควบคุ ม ได อ ย า งเต็ ม ที ่
เมื ่ อ มี ก ารดี ด กลั บ หรื อ เกิ ด ปฏิ ก ิ ร ิ ย าของแรงบิ ด ระหว า งการเป ด
ใช ง านเครื ่ อ ง ผู  ป ฏิ บ ั ต ิ ง านสามารถควบคุ ม ปฏิ ก ิ ร ิ ย าของแรงบิ ด หรื อ
แรงดี ด กลั บ ได หากใช ม าตรการป อ งกั น ที ่ เ หมาะสม
b) อย า ให ม ื อ อยู  ใ กล อ ุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ก ํ า ลั ง หมุ น อยู  อุ ป กรณ เ สริ ม
อาจดี ด กลั บ มาที ่ ม ื อ ของคุ ณ
c) อย า ให ต ั ว ของคุ ณ เข า ไปอยู  ใ นระยะที ่ เ ครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า จะ
เคลื ่ อ นที ่ หากมี ก ารดี ด กลั บ เกิ ด ขึ ้ น การดี ด กลั บ อาจผลั ก เครื ่ อ งมื อ
ให ไ ปในทิ ศ ทางตรงข า มกั บ การเคลื ่ อ นที ่ ข องใบเจี ย ณ จุ ด ที ่ ม ี ก ารเกี ่ ย ว
กั น
d) ใชความระมั ด ระวั ง เป น พิ เ ศษเมื ่ อ กํ า ลั ง ทํ า งานกั บ มุ ม ขอบที ่
มี ค วามคม ฯลฯ ป อ งกั น ไม ใ ห ม ี ก ารดี ด กลั บ หรื อ การเกี ่ ย วของ
อุ ป กรณ เ สริ ม มุ ม ขอบที ่ ม ี ค วามคม หรื อ การดี ด กลั บ อาจเกี ่ ย วเข า กั บ
อุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ก ํ า ลั ง หมุ น อยู  และเป น สาเหตุ ใ ห ส ู ญ เสี ย การควบคุ ม
หรื อ การดี ด กลั บ
e) อย า ประกอบใบเลื ่ อ ยแกะสลั ก ไม ท ี ่ ม ี โ ซ ห รื อ ใบเลื ่ อ ยแบบมี
ฟ น ใบเลื ่ อ ยดั ง กล า วมั ก จะทํ า ให เ กิ ด การดี ด กลั บ หรื อ สู ญ เสี ย การ
ควบคุ ม บ อ ยครั ้ ง
คํ า เตื อ นด า นความปลอดภั ย สํ า หรั บ การเจี ย และการตั ด โลหะโดย
เฉพาะ
a) ใช ใ บเจี ย /ใบตั ด ในประเภทที ่ แ นะนํ า สํ า หรั บ เครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า
ของคุ ณ และฝาครอบที ่ อ อกแบบมาโดยเฉพาะกั บ ใบเจี ย /ใบตั ด
ที ่ เ ลื อ กไว เ ท า นั ้ น ใบเจี ย /ใบตั ด ที ่ ไ ม ไ ด อ อกแบบมาสํ า หรั บ เครื ่ อ งมื อ
ไฟฟ า จะไม ส ามารถป อ งกั น ได อ ย า งเพี ย งพอและไม ม ี ค วามปลอดภั ย
b) ต อ งประกอบฝาครอบเข า กั บ เครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า อย า งแน น
หนาและจั ด วางตํ า แหน ง ให ม ี ค วามปลอดภั ย ที ่ ส ุ ด โดยให ใ บเจี ย /
ใบตั ด ในส ว นที ่ ไ ม ม ี ฝ าครอบหั น ไปทางผู  ป ฏิ บ ั ต ิ ง านน อ ยที ่ ส ุ ด
ฝาครอบจะช ว ยป อ งกั น ผู  ป ฏิ บ ั ต ิ ง านจากเศษใบเจี ย /ใบตั ด ที ่ แ ตกหั ก
และการสั ม ผั ส กั บ ใบเจี ย /ใบตั ด อย า งไม ต ั ้ ง ใจ
c) ต อ งใช ใ บเจี ย /ใบตั ด ตามการใช ง านที ่ แ นะนํ า เท า นั ้ น ตั ว อย า ง
เช น อย า เจี ย โดยใช ด  า นข า งของใบตั ด ใบตั ด โลหะผลิ ต ขึ ้ น มาเพื ่ อ
ใช ใ นการเจี ย จากขอบด า นนอก การใช แ รงกดด า นข า งของใบตั ด อาจ
ทํ า ให ใ บเจี ย /ใบตั ด แตกหั ก ได
23

Advertisement

loading