Makita BCF050 Manual page 31

Hide thumbs Also See for BCF050:
Table of Contents

Advertisement

Available languages
  • EN

Available languages

  • ENGLISH, page 1
ภาษาไทย
คู ่ ม ื อ การใช้ ง านต้ น ฉบั บ
ข้ อ มู ล ทางเทคนิ ค
A. รุ ่ น
B. ปริ ม าตรอากาศ (ม
/นาที ) (โหมดแรง/โหมดปกติ )
3
C. ความยาวทั ้ ง หมด (ส่ ว นพั ด ลม/ส่ ว นแบตเตอรี ่ )
D. ตลั บ แบตเตอรี ่
E. แรงดั น พิ ก ั ด
F. ชั ่ ว โมงการทำงาน (โหมดแรง/โหมดปกติ )
G. น้ ำ หนั ก สุ ท ธิ (ส่ ว นพั ด ลม/ส่ ว นแบตเตอรี ่ )
คำเตื อ น:
อ่ า นคำเตื อ นด้ า นความปลอดภั ย และคำแนะนำทั ้ ง หมด
การไม่ ป ฏิ บ ั ต ิ ต ามคำเตื อ นและคำแนะนำดั ง กล่ า วอาจส่ ง ผล
ให้ เ กิ ด ไฟฟ้ า ช็ อ ต ไฟไหม้ และ/หรื อ ได้ ร ั บ บาดเจ็ บ ร้ า ยแรงได้
ก่ อ นที ่ จ ะทำการตรวจสอบ, ปรั บ ค่ า หรื อ บำรุ ง รั ก ษา ต้ อ ง
ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า ปิ ด พั ด ลมและถอดแบตเตอรี ่ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว
อย่ า ให้ พ ั ด ลมถู ก ฝนหรื อ อยู ่ ใ นสภาพเปี ย กชื ้ น
อย่ า ใช้ ส ายไฟอย่ า งไม่ เ หมาะสม สายไฟที ่ เ สี ย หายอาจทำให้ เ กิ ด
เพลิ ง ไหม้ ห รื อ ไฟฟ้ า ดู ด ได้
อย่ า ถอดพั ด ลมหรื อ แบตเตอรี ่
เมื ่ อ สั ง เกตพบอาการผิ ด ปกติ ข องพั ด ลม เช่ น เสี ย งแปลกๆ หรื อ
กลิ ่ น ไหม้ ให้ ห ยุ ด ใช้ ง านพั ด ลมทั น ที
อุ ป กรณ์ ท ี ่ ไ ม่ ไ ด้ ม ี จ ุ ด มุ ่ ง หมายให้ ใ ช้ ง านโดยบุ ค คลที ่ ท ุ พ พลภาพ,
ขาดสติ ส ั ม ปชั ญ ญะ, ขาดความสามารถด้ า นจิ ต ใจ หรื อ ขาด
ประสบการณ์ แ ละความรู ้ อย่ า ให้ เ ด็ ก เล่ น อุ ป กรณ์
คำแนะนำด้ า นความปลอดภั ย สำหรั บ ตลั บ แบตเตอรี ่
อ่ า นคำแนะนำและคำเตื อ นทั ้ ง หมดที ่ อ ยู ่ บ นที ่ ช าร์ จ แบตเตอรี ่ แ ละ
ตั ว แบตเตอรี ่
อย่ า ลั ด วงจรตลั บ แบตเตอรี ่ เก็ บ รั ก ษาให้ ห ่ า งจากวั ต ถุ โ ลหะ
อย่ า ใช้ ง านอุ ป กรณ์ ใ นขณะที ่ ม ื อ เปี ย กชื ้ น การลั ด วงจรขั ้ ว
แบตเตอรี ่ ท ั ้ ง สองด้ า นอาจทำให้ ผ ิ ว หนั ง ถู ก ลวกหรื อ ไฟไหม้ ไ ด้
ใช้ พ ั ด ลมกั บ ชุ ด แบตเตอรี ่ ท ี ่ ไ ด้ ร ั บ การออกแบบมาโดยเฉพาะ
ชาร์ จ ไฟด้ ว ยแท่ น ชาร์ จ ที ่ ร ะบุ โ ดยผู ้ ผ ลิ ต เท่ า นั ้ น
ในสภาพที ่ เ ป็ น อั น ตราย อาจมี ข องเหลวไหลออกมาจาก
แบตเตอรี ่ อย่ า สั ม ผั ส ของเหลวดั ง กล่ า ว อย่ า สั ม ผั ส หากสั ม ผั ส
โดยบั ง เอิ ญ ให้ ล ้ า งออกด้ ว ยน้ ำ หากของเหลวเข้ า ดวงตา
ให้ ล ้ า งออกด้ ว ยน้ ำ สะอาด แล้ ว ไปพบแพทย์ ท ั น ที เพราะอาจ
ทำให้ ด วงตาของคุ ณ สู ญ เสี ย การมองเห็ น ได้
อย่ า จั ด เก็ บ ตลั บ แบตเตอรี ่ ใ นสถานที ่ ท ี ่ ม ี อ ุ ณ หภู ม ิ ส ู ง เกิ น กว่ า
50°C (122°F)
อย่ า ใช้ ง านแบตเตอรี ่ ท ี ่ ช ำรุ ด เสี ย หาย
อย่ า นำตลั บ แบตเตอรี ่ ไ ปเผา แม้ ว ่ า ตั ว แบตเตอรี ่ จ ะเสี ย หายมาก
หรื อ เสื ่ อ มสภาพอย่ า งสิ ้ น เชิ ง เนื ่ อ งจากอาจจะระเบิ ด ได้
ระมั ด ระวั ง อย่ า ทำให้ แ บตเตอรี ่ ร ่ ว งหล่ น หรื อ ได้ ร ั บ การกระแทก
การติ ด ตั ้ ง หรื อ การถอดตลั บ แบตเตอรี ่ (ภาพที ่ 1)
ในการติ ด ตั ้ ง ่ ต ลั บ แบตเตอรี ่ (1) ให้ จ ั ด แนวลิ ้ น ของตลั บ แบตเตอรี ่
ให้ ต รงกั บ ร่ อ งในตั ว จั บ แบตเตอรี ่ (2) และเลื ่ อ นให้ เ ข้ า ที ่ สอด
แบตเตอรี ่ เ ข้ า ไปจนสุ ด จนกว่ า จะล็ อ คเข้ า ที ่ ส นิ ท โดยจะได้ ย ิ น เสี ย ง
ดั ง คลิ ก เบาๆ เมื ่ อ ล็ อ กอย่ า งถู ก ต้ อ ง จะมองไม่ เ ห็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ส ี แ ดง
(3)
ในการถอดตลั บ แบตเตอรี ่ ให้ เ ลื ่ อ นตลั บ แบตเตอรี ่ อ อกจากตั ว จั บ
แบตเตอรี ่ ในขณะที ่ ก ำลั ง เลื ่ อ นปุ ่ ม (4) บนหน้ า ตลั บ อยู ่
ระบบป้ อ งกั น แบตเตอรี ่
ระบบป้ อ งกั น จะตั ด พลั ง งานที ่ จ ่ า ยออกโดยอั ต โนมั ต ิ เ พื ่ อ ให้ ม ี อ ายุ
การใช้ ง านยาวนาน พั ด ลมจะหยุ ด ในขณะใช้ ง านเมื ่ อ พลั ง งาน
แบตเตอรี ่ เ หลื อ น้ อ ย เนื ่ อ งจากระบบป้ อ งกั น ถู ก ใช้ ง านและไม่ ใ ช่
การเสี ย หายใดๆ
เคล็ ด ลั บ ในการดู แ ลรั ก ษาแบตเตอรี ่ ใ ห้ ม ี อ ายุ ก ารใช้ ง านสู ง สุ ด
เมื ่ อ สั ง เกตพบว่ า พลั ง งานแบตเตอรี ่ ใ กล้ ห มด ให้ ห ยุ ด ใช้ ง านพั ด ลม
และชาร์ จ ตลั บ แบตเตอรี ่ ใ หม่
อย่ า ชาร์ จ ตลั บ แบตเตอรี ่ ท ี ่ ม ี พ ลั ง งานเต็ ม แล้ ว
ชาร์ จ ตลั บ แบตเตอรี ่ ท ี ่ อ ุ ณ หภู ม ิ ห ้ อ ง ที ่ 10°C - 40°C (50°F - 104°F)
ปล่ อ ยให้ ต ลั บ แบตเตอรี ่ ท ี ่ ม ี ค วามร้ อ นเย็ น ลงก่ อ นที ่ จ ะชาร์ จ
หากไม่ ไ ด้ ใ ช้ ง านเครื ่ อ งเป็ น เวลานาน ให้ ช าร์ จ ตลั บ แบตเตอรี ่ ท ุ ก
หกเดื อ น
การประกอบ (ภาพที ่ 2, 3, 4)
ใส่ ส ายรั ด (5) เข้ า กั บ หมวกนิ ร ภั ย สั ง เกตว่ า รู ล มเป่ า (6) อยู ่ ใ ต้ ห มวก
ปรั บ ความยาวของสายรั ด โดยใช้ ค ลิ ป สายรั ด (7)
แขวนที ่ จ ั บ แบตเตอรี ่ โ ดยใช้ ต ะขอเกี ่ ย วเข็ ม ขั ด (8) เกี ่ ย วเข้ า ที ่ เ ข็ ม ขั ด
ของกางเกงหรื อ ที ่ อ ื ่ น
ปรั บ ความยาวของสายไฟ (9) ให้ พ อเหมาะโดยใช้ ค ลิ ป สายไฟ (10)
ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า สายไฟไม่ ห ลวมเกิ น ไป
การใช้ ต ั ว แปลง (ภาพที ่ 5 และ 6)
ในกรณี ท ี ่ ข อบของหมวกนิ ร ภั ย หนาเกิ น กว่ า ที ่ จ ะติ ด พั ด ลมได้ ให้ ใ ช้
อแดปเตอร์ (11) ที ่ ร วมอยู ่ ใ นกล่ อ ง ติ ด อแดปเตอร์ เ ข้ า กั บ พั ด ลม แล้ ว
ขั น พั ด ลมให้ ส ั น (12) ของอแดปเตอร์ ย ึ ด กั บ ด้ า นล่ า งของหมวกนิ ร ภั ย
การทำงาน (ภาพที ่ 7 และ 8)
ท่ า นสามารถเปลี ่ ย นโหมดการเป่ า ได้ โ ดยการกดสวิ ต ซ์ (13) ที ่ ต ั ว จั บ
แบตเตอรี ่ การกดสวิ ต ซ์ แ ต่ ล ะครั ้ ง จะเปลี ่ ย นโหมดตามลำดั บ
โหมดปกติ , โหมดแรง และหยุ ด
คุ ณ สามารถปรั บ ทิ ศ ทางของการเป่ า ได้ โ ดยการเลื ่ อ นบานพั บ (14)
เลื ่ อ นบานพั บ ขึ ้ น เพื ่ อ ให้ เ ป่ า ลมไปทางหั ว ของคุ ณ และเลื ่ อ นลงเพื ่ อ
เป่ า ไปทางคอของคุ ณ
การดู แ ลรั ก ษา
ใช้ ผ ้ า แห้ ง เช็ ด ทำความสะอาดคราบสกปรกที ่ พ ั ด ลม
อย่ า ใช้ น ้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง เบนซิ น ทิ น เนอร์ แอลกอฮอล์ หรื อ วั ส ดุ
ประเภทเดี ย วกั น เพราะอาจทำให้ เ ครื ่ อ งมื อ สี ซ ี ด จาง ผิ ด รู ป ทรง
หรื อ แตกหั ก ได้
เพื ่ อ ดู แ ลให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม ี ค วามปลอดภั ย และไว้ ว างใจได้ ควรนำส่ ง
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ แ ก่ ศ ู น ย์ บ ริ ก ารที ่ ไ ด้ ร ั บ อนุ ญ าตของ Makita ดำเนิ น การ
ซ่ อ มแซม ตรวจสอบ และปรั บ ค่ า ใช้ ง านชิ ้ น ส่ ว นสำหรั บ เปลี ่ ย นของ
Makita เสมอ
31

Advertisement

Table of Contents
loading

Table of Contents